ควรรู้จักยาเฮพารีนเอาไว้นะ


ทำไมหมอให้ ฉีด เฮพารีน Heparin เราควรรู้เอาไว้ว่า ยาชนิดนี้มีประโยนช์หรือโทษอย่างไหง เพราะยานี้จะมีผลกับเลือดของคนฝอกไต เป็นส่วนใหญ่ คนที่แพ้เฮพารีนมัก จะทำให้เกิด เกร็ดเลือดต่ำ

ข้อระวังของคนล้าง ก่อนหมอจะสั่งให้ยา เฮพารีน ส่วนใหญ่เกิดการดันของไส้กรองในขณะล้าง พยาบาลจะบอกว่า เลือดข้นต้องให้เฮพารีน คุณต้องทำคือให้เค้าตรวจความเข็มข้นของเลือดให้ดีก่อนและ สังเกตุคุณมีอาการเหมือนคนที่เป็นเลือดข้นหรือเปล่า เพราะมันเป็นปัญหาของไส้กรอง คุณภาพต่ำหรือ บางอันของไส้กรองอาจมีปัญหา ที่ต้องเช็คเพราะไม่เช่นนั้น คุณจะเป็นโรคใหม่อีกโรค คือโลหิตจางได้แบบรวดเร็ว คุณก็ต้องมารักษาโรคเลือดอีก
อาการให้ดูจากเว็บไซต์เหล่านี้ อ่านซักนิด  น้ำกระเจียบช่วยลดความเข็มข้นของเลือดได้
haamor.com มาหาหมอ


ที่สำคัญมาก เฮพารีนมีผลกับเกร็ดเลือดโดยตรง เฮพารีนมีหลายชนิดและยี่ห้อ
ศึกษา ยาเฮพารีนได้จากเว็ปไซต์ เหล่านี้
ยาเฮพาริน ........ ขอห้ามที่สำคัญ คนแพ้ยานี้จะ ทำให้ เกร็ดเลือดต่ำ
http://haamor.com/th/%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AE%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99/
ยาเฮปาริน หรือ เฮพาริน
http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/heart_disease/ami/heparin.html
เฮปารินสองแบบได้แก่
http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/heart_disease/ami/heparin.html#.Vk_U0l6jwqM

1 เฮปารินแบบเก่าเป็นชนิดโมเลกุลหนักเรียกว่า unfractionated heparin ( UFH) ส่วนแบบใหม่
2 เป็นชนิดโมเลกุลเล็ก เรียกว่า low molecular weight heparin( LMWH)

ถ้าฟอกไตแล้วไปพักหนึ่ง ไส้กรองยังเป็นสีขาว เห็นเป็นเส้นน้ำเลือดไหลเพียงเล็กน้อย นอกนั้นเป็นสีขาวส่วนใหญ่ แสดงว่าไส้กรองกรองไม่ดีแล้วต้องเปลี่ยน ปกติจะเห็นเป็นน้ำเลือดไหลไปทัวไส้กรอง ไส้กรองจะใช้ได้หลายรอบนั้น ปัจจัยได้หลายอย่าง เช่น ของเสียมาก,เลือดข้น,คุณของไส้กรองที่เอามาใช้มีหลายระดับบางโรงพยาบาล หน่วยล้างไตเป็นบริษัทหนึ่งที่มาทำรวมกับโรงพยาบาลเค้าต้องการกำไรมากก็มี ชอบค้างของเสียมากๆ  พยาบาลชอบให้น้ำเกลือมากๆ  หรือ ล้างไส้กรองหลังใช้แบบลวกๆ
ไขมัน น้ำตาลในเลือดของคนไข้  นอกจากเป็นสีขาวแล้วให้ดูที่ หน้าปัดเครื่อง ค่าตัวเลขต่ำหรือติดลบไหม ถ้ามีบางตัวจะสูงอยู่แสดงว่า ไส้กรองไม่ดี แต่ตอนที่พยาบาลปรับหรือปล่อยน้ำเกลือเพื่อล้างดูไม่ได้นะคับ เพราะตัวเลขยังไม่คงที่ เพราะน้ำเกลือมันไหลถ้าปล่อยมากๆ เร็วค่าจะคงที่ช้า
INF.RATE  (ml/H)

0 Response to "ควรรู้จักยาเฮพารีนเอาไว้นะ"

แสดงความคิดเห็น